หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
อาจารย์ ดร.วิโรจน์ ทองปลิว
อาจารย์
ปริญญาเอก Ph.D. (Linguistics)
ปริญญาโท M.A. (Teaching of English as Second
Language : TESL) Central Institute of
English and Foreign Languages,
Hyderabad, India, (2005)
Diploma Program in The U.N. Studies
Institute of UN Studies, New Delhi,
India. (2548)
ปริญญาตรี พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ) (เกียรตินิยมอันดับ 2)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2546)
ปวค. (ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(2546)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จงกิจ วงษ์พินิจ
อาจารย์
ปริญญาเอก ศศ.ด. (ภาษาอังกฤษ)
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร (2549)
ปริญญาโท ศศ.ม. (การสอนภาษาอังกฤษ)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2540)
ปริญญาตรี กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) (เกียรตินิยมอันดับ 2)
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (2533)
อาจารย์จตุพร เหลือสนุก
อาจารย์
ปริญญาโท ศษ.ม. (การสอนภาษาอังกฤษในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ)
มหาวิทยาลัยศิลปากร (2534)
ปริญญาตรี กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) (เกียรตินิยมอันดับ 2)
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2528)
อาจารย์ญาณิศา สู่ทรงดี
อาจารย์
ปริญญาโท ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร)
มหาวิทยาลัยบูรพา (2553)
ปริญญาตรี ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (2546)
ปวค. (ประกาศนียบัตร วิชาชีพครู)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2547)
อาจารย์ทองพูล ขุมคำ
อาจารย์
ปริญญาโท M.A. (Linguistics)
Universitiy Mysore, India. (2005)
ปริญญาตรี พธ.บ. (การสอนสังคมศึกษา)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(2542)
อาจารย์หทัยรัตน์ จงเสริมตระกูล
อาจารย์
ปริญญาโท ค.ม. (การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่าง
ประเทศ)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2552)
ปริญญาตรี ค.บ. (การสอนมัธยมศึกษา: ภาษาอังกฤษ-
ฝรั่งเศส)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2546)
อาจารย์ศิรประภา รัตนรวมการ
อาจารย์
ปริญญาโท ศศ.ม. ภาษาอังกฤษ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2552)
ปริญญาตรี ค.บ. (การสอนมัธยมศึกษา: ภาษาอังกฤษ-
ฝรั่งเศส)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2546)
อาจารย์จีรัชพัฒน์ ผลเจริญ
อาจารย์
ปริญญาโท ศศ.ม. ภาษาอังกฤษ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2552)
ปริญญาตรี อม. (ภาษาอังกฤษ)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2546)
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
มุ่งเน้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์ ผ่านทักษะทางด้านภาษาอังกฤษ เรียนรู้หลักการใช้ภาษา ทั้งการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน โดยเน้นให้นักศึกษาเป็นศูนย์กลางเพื่อพัฒนาศักยภาพ รวมทั้งเรียนรู้จากประสบการณ์จริงในสถานการณ์ต่างๆ และกระตุ้นให้เกิดการแสดงความคิดเห็นต่อบทเรียน โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อการเรียนการสอนจนเกิดความเชี่ยวชาญทางด้านภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์