เลือกหน้า

หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

อาจารย์สันติ  วิลัยสูงเนิน

อาจารย์สันติ วิลัยสูงเนิน

อาจารย์

ปริญญาโท ศศ.ม. (ดุริยางค์ไทย)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2559)
ปริญญาตรี ค.บ. (ดนตรีศึกษา)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2555)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัชวาล  สนิทสันเทียะ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัชวาล สนิทสันเทียะ

อาจารย์

ปริญญาโท ศศ.ม. (ดุริยางค์ไทย)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2553)
ปริญญาตรี ค.บ. (ดนตรีศึกษา)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2549)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัศวิน  นาดี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัศวิน นาดี

อาจารย์

ปริญญาเอก ปรด. (ดุริยางคศิลป์)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2560)
ปริญญาโท ศศ.ม. (ดนตรี) มหาวิทยาลัยมหิดล (2553)
ปริญญาตรี ค.บ. (ดนตรีศึกษา)
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
(2546)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรรณราย  คำโสภา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรรณราย คำโสภา

อาจารย์

ปริญญาโท ศป.ม. (มนุษยดุริยางควิทยา)
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
(2541)
ปริญญาตรี ค.บ. (ดนตรี) วิทยาลัยครูสุรินทร์ (2532)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์รัฐวิทย์  รัฐกาญจนไพบูลย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์รัฐวิทย์ รัฐกาญจนไพบูลย์

อาจารย์

ปริญญาโท ศศ.ม. (ดนตรี) มหาวิทยาลัยมหิดล (2555)
ปริญญาตรี ศป.บ. (ดนตรีสากล)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2550)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สรวีย์  พรเอี่ยมมงคล

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สรวีย์ พรเอี่ยมมงคล

อาจารย์

ปริญญาโท ศศ.ม. (ดนตรี) มหาวิทยาลัยมหิดล (2555)
ปริญญาตรี ศป.บ. (ดนตรีไทย)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2550)

อาจารย์ศุภวัฒน์  ทองนำ

อาจารย์ศุภวัฒน์ ทองนำ

อาจารย์

ปริญญาโท ศศ.ม. (การวิจัยและพัฒนาท้องถิ่น)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (2555)
ปริญญาตรี ศ.บ. (ดนตรีศึกษา)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (2555)

อาจารย์ศนิท  บาศรี

อาจารย์ศนิท บาศรี

อาจารย์

ปริญญาโท ศศ.ม. (การวิจัยและพัฒนาท้องถิ่น)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (2555)
ปริญญาตรี ศ.บ. (ดนตรีศึกษา)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (2555)

อาจารย์ชนาวัฒน์  จอนจอหอ

อาจารย์ชนาวัฒน์ จอนจอหอ

นักวิชาการศึกษา

ปริญญาโท ศศ.ม. (ดนตรี) มหาวิทยาลัยมหิดล (2555)
ปริญญาตรี ศป.บ. (ดนตรีไทย)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2550)

นายอดิศักดิ์ ชมดี

นายอดิศักดิ์ ชมดี

นักวิชาการศึกษา

ระดับการศึกษา ปริญญาตรี
วุฒิการศึกษา
ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.)
สาขาวิชาดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

สาขาวิชาดนตรีศึกษา

– มีการเรียนการสอนในหลากหลายวิชาย่อย แต่มหาวิทยาลัยส่วนมากจะแบ่งเป็น 2 วิชาเอก คือ ดนตรีไทย และดนตรีสากล ในแต่ละวิชาเอกสามารถเลือกความสนใจพิเศษไปทางการสอนเครื่องดนตรีและวงดนตรี หรือการสอนทฤษฎีก็ได้ ซึ่ง 2 สาย ดังกล่าวเป็นทางเลือกสำหรับผู้ที่ต้องการ กระบวนการของการเรียนการสอนออกไปสอนในกลุ่มผู้เรียนวิชาเอกดนตรีทางลึก
– ศึกษาด้านการเรียนการสอน กระบวนการ และแนวคิดด้านดนตรีศึกษาในแบบต่าง ๆ ของโลก  เช่น Kodaly , Orff, Dalcroze หรือแม้กระทั่งวิธีการเรียนการสอนดนตรีไทยตามสำนักต่างๆ โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนนำไปใช้ในกลุ่มผู้เรียนได้ทุกเพศทุกวัย ทั้งในระบบและนอกระบบ 
– ศึกษาทักษะดนตรีในเครื่องมือที่ตนเองสอบข้ามากับคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ แบบตัวต่อตัว นอกจากนั้นยังมีรายวิชาด้านทฤษฎี ประวัติศาสตร์ และวรรณคดี รวมทั้งวิชาทางด้านดนตรีศึกษาตามความถนัด
– นิสิตที่เรียนวิชาเอกดนตรีประเภทใดประเภทหนึ่ง ก็จะได้เรียนวิชาดนตรีพื้นฐานในอีกสายหนึ่งไปด้วย เช่น นิสิตเอกดนตรีไทย จะได้เรียนวิชาทฤษฎีดนตรีตะวันตก การขับร้องประสานเสียง ประวัติศาสตร์วรรณคดีดนตรี ตะวันตกเบื้องต้น และสามารถเลือกเรียนวิชาดนตรีสากลอื่น ๆ ที่มีความสนใจได้นอกจากวิชาเอกดนตรีไทยและของตนเองและในทางกลับกัน นิสิตเอกดนตรีสากล ก็จะได้เรียนรู้ในวิชาพื้นฐานด้านดนตรีไทยด้วย

thThai